|
1. |
การพิมพ์ต้นฉบับจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบและขนาดตัวอักษรตาม template ที่กำหนดไว้ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ที่นี้ |
|
ดาวน์โหลด Template |
2. |
บทความอาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อเรื่องมีความยาวประมาณ 10 - 15 หน้าของ template |
3. |
ผู้เขียนบทความทุกคนต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ - นามสกุล ของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด และอีเมลล์ ให้ชัดเจน |
4. |
บทคัดย่อ 1 คอลัมน์ มีความยาวประมาณ 15 บรรทัด และมีคำสำคัญ (Keywords) 4-5 คำ โดยบทควมภาษาไทยต้องมีบทคัดย่อภาษาอังกฤษด้วย |
5. |
ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง แบ่งเป็น 2 คอลัมภ์ |
|
5.1 |
บทความวิจัยควรประกอบด้วย ความนำ วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐาน (ถ้ามี) วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง |
5.2 |
บทความวิชาการประกอบด้วย ความนำ สรุปผล ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง รายงานอ้างอิงภาษาไทย ก-ฮ และตามด้วยภาษาอังกฤษ (เรียงตามลำดับตัวอักษร) ตามรูปแบบที่กำหนด |
หมายเหตุ ตาราง และภาพประกอบให้แทรกในเนื้อเรื่อง โดยจัดเป็น 1 คอลัมภ์ |
|
6. |
ต้นฉบับสามารถส่งได้ทางระบบ ออนไลน์ ผ่านหน้าเว็บไซต์ โดยกองบรรณาธิการจะนำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาบทความ ตามสาขาวิชา เพื่อประเมินคุณภาพและความเหมาะสมก่อนการตอบรับ (ใช้เวลา 45 วัน) |
7. |
เมื่อบทความได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข ผู้เขียนจะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จตามกำหนด (45 วัน) |
8. |
ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ |
|
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์บทความ ดังนี้ |
สถานะผู้เขียน |
ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์บทความ (บาท) |
ภาษาไทย |
ภาษาอังกฤษ |
อาจารย์และเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย |
2,000 |
3,000 |
นักศึกษามหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย |
4,500 |
6,500 |
บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย |
|
หมายเหตุ |
1. เริ่มจัดเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์เมื่อบทความได้รับการตรวจสอบจากกองบรรณาธิการว่ามีเนื้อหาตรงตาม วัตถุประสงค์การเผยแพร่ของวารสารฯ |
2. ทุกบทความชำระครั้งเดียว |
3. บทความระดับป.โท หากไม่มีการนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ เช่น การไปขอตำแหน่งทาง
วิชาการ อื่นๆ จะใช้ผู้ทรงคุณวุฒิในการ พิจารณา เพียง 2 ท่าน ต่อ 1 บทความ
บทความระดับ ป.เอก จะใช้ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณา 3 ท่าน ต่อ 1 บทความ ทุกกรณี |
|
|
|
คำแนะนำสำหรับการอ้างอิงบทความ |
รูปแบบการอ้างอิงเอกสาร |
การอ้างอิงเอกสารให้เขียนตามแบบ APA Style 6 (American Psychological Association) ดังนี้ |
การอ้างอิงในเนื้อหาบทความ |
ให้อ้างชื่อผู้แต่งหรือชื่อเรื่องในกรณีที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์ โดยเขียนชื่อสกุลของผู้แต่งหรือชื่อเรื่อง และปี ค.ศ. ของการพิมพ์เอกสาร ทั้งกรณีที่เป็นเอกสารของชาวไทยและชาวต่างประเทศ |
ตัวอย่างการเขียนอ้างอิงในเนื้อหาบทความ |
โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ประการแรก ประเทศไทยมีมหาวิทยาขัยวิจัยที่มี ศักยภาพในระดับโลกจำนวน 7-10 แห่งที่สามารถสนับสนุนเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ประการที่ 2 เพื่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่สามารถนำ ผลงานไปใช้ในภาคการผลิต ช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชน และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม ทั้งในด้าน การส่งเสริมการส่งออกและทดแทนการนำเข้า จากเป้าหมายดังกล่าวได้มีการจัดกลุ่มมหาวิทยาลัยของไทยออกเป็น 4 กลุ่มและมีบทบาท ดังนี้ (Maslow, 2006) หรือ
Maslow (2006) ได้กล่าวถึงโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติมีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ประการแรก ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยวิจัยที่มีศักยภาพในระดับโลกจำนวน 7-10 แห่งที่สามารถสนับสนุนเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศและช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ประการที่ 2 เพื่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัย ตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่สามารถนำผลงานไปใช้ในภาคการผลิต ช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชน และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม |
ตัวอย่างการเขียนอ้างอิงท้ายบทความ |
Maslow, A. (2006). External evaluation of higher education institutions.
Retrieved from http://www.cu-qa.chula.ac.th/News/12-4-2006-2.ppt. |
การอ้างอิงท้ายบทความ |
หนังสือ
ชื่อสกุลผู้แต่ง, ชื่อย่อ. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง (ครั้งที่พิมพ์). สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.
ตัวอย่าง
สมยศ นาวีการ. (2557). การบริหารจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
Maslow, A. (2006). Learning organization: From the concepts to
practives (4th ed.). New York: Mcgraw hill.
|
บทความวารสาร
ชื่อสกุลผู้แต่ง, ชื่อย่อ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฎบทความในวารสาร.
ธนภรณ์ วารินรักษ์. (2554) . การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน
ของสถานศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดนนทบุรีเขต 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,
ฉบับเสริม, 5, 2554, 162-163.
Sahapong, S., Manmart, L., Ayuvat, D.,Potisat, S. (2006). A systematic review of the
roles and competencies of medical information professionals (MIPs) in
evidence-based medicine. Ramathibodi Medical Journal 29(1), 119-130.
|
หมายเหตุ |
วารสารฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ตั้งแต่ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ผู้เขียนบทความที่จะขอตีพิมพ์ทุกท่านจะต้องแปลการอ้างอิงเป็นสองภาษา |
ตามตัวอย่าง |
วรเชษฐ์ ม่วงมุกข์. (2548). การพัฒนาความรู้ความสามารถของประชาชนในการเป็นวิทยากร เพื่อการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ ตำบลกลางดง อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. |
Muangmuk, W. (2005). A trainers knowledge and skill development for citizen for forest conservation in
the area of Klang Dong sub district, Thung Sareang district, Sukhothai province. Masters thesis
in Art, Pibulsongkram Rajabhat University. (in Thai) |
|
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย |
เลขที่ 200 ถ.รังสิต-นครนายก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 |
Tel. : |
0 25771028 - 31 ต่อ 377 |
Fax : |
0 25771053 |
e-Mail : |
[email protected] |
|