Untitled Document
 Untitled Document
ข้อมูลเกี่ยวกับวารสาร
กองบรรณาธิการ
จริยธรรมการตีพิมพ์
ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ
นโยบายการรับบทความ
คำแนะนำสำหรับผู้เขียน
ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์
อ่านฉบับย้อนหลัง
ค้นหาบทความ
ติดต่อสอบถาม
สำหรับผู้ดูแลระบบ
 
 Untitled Document
 
การเตรียมและขั้นตอนในการส่งบทความ
    1. การพิมพ์ต้นฉบับจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบและขนาดตัวอักษรตาม template ที่กำหนดไว้ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่
  - แบบฟอร์มการชำระค่าตีพิมพ์บทความในวารสาร EAU Heritage_สหก.ว. 041
  - แบบฟอร์มส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ EAU Heritage_สหก.ว. 051
  - Template บทความวิจัย.doc
  - Template บทความวิจัย.pdf
  - Template บทความวิชาการ.doc
  - Template บทความวิชาการ.pdf
  - Template บทความภาษาอังกฤษ.doc
  - Template บทความภาษาอังกฤษ.pdf
    2. บทความอาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อเรื่องมีความยาวประมาณ 10 - 15 หน้าของ template
    3. ผู้เขียนบทความทุกคนต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ - นามสกุล ของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด และอีเมลล์ ให้ชัดเจน
    4. บทคัดย่อ 1 คอลัมภ์มีความยาวประมาณ 15 บรรทัด และมีคำสำคัญ (Keywords) 4-5 คำ โดยบทความภาษาไทย
     ต้องมีบทคัดย่อภาษาอังกฤษด้วย
    5. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง แบ่งเป็น 2 คอลัมน์
 
    5.1 บทความวิจัยควรประกอบด้วย ความนำ วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐาน (ถ้ามี) วิธีดำเนินการวิจัย
ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง
    5.2 บทความวิชาการประกอบด้วย ความนำ สรุปผล ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิงภาษาอังกฤษ
(เรียงตามลำดับตัวอักษร A-Z) ตามรูปแบบที่กำหนด
      6. ต้นฉบับสามารถส่งได้ทางระบบออนไลน์ผ่านหน้าเว็บไซต์ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci
โดยกองบรรณาธิการจะนำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาบทความตามสาขาวิชา เพื่อประเมินคุณภาพและความเหมาะสม
ก่อนการตอบรับ (ใช้เวลาประมาณ 30 วันทำการ)
      7. เมื่อบทความได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข
ผู้เขียนจะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จตามกำหนด (30 วันทำการ)
      หมายเหตุ ตารางและภาพประกอบให้แทรกในเนื้อเรื่อง โดยจัดเป็น 1 คอลัมน์ ภาพประกอบต้องมีความละเอียด
                     ไม่น้อยกว่า 300 จุดต่อนิ้ว (dpi)
 
การอ้างอิงบทความ
    รูปแบบการอ้างอิงเอกสาร
        การอ้างอิงเอกสารให้เขียนตามแบบ APA 6th ed (American Psychological Association) ดังนี้
    การอ้างอิงในเนื้อหาบทความ
        ให้อ้างชื่อผู้แต่งหรือชื่อเรื่องในกรณีที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์ โดยเขียนชื่อสกุลของผู้แต่งหรือชื่อเรื่อง และปี ค.ศ. ของการพิมพ์เอกสาร ทั้งกรณีที่เป็นเอกสารของชาวไทยและชาวต่างประเทศ
    ตัวอย่างการเขียนอ้างอิงในเนื้อหาบทความ
           โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ประการแรก ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยวิจัยที่มี ศักยภาพในระดับโลกจำนวน 7-10 แห่งที่สามารถสนับสนุนเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ประการที่ 2 เพื่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่สามารถนำ
ผลงานไปใช้ในภาคการผลิต ช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชน และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม ทั้งในด้าน การส่งเสริมการส่งออกและทดแทนการนำเข้า
จากเป้าหมายดังกล่าวได้มีการจัดกลุ่มมหาวิทยาลัยของไทยออกเป็น 4 กลุ่มและมีบทบาท ดังนี้ (Pitiyanuwatna, 2006) หรือ
            Pitiyanuwatna (2006) ได้กล่าวถึงโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติมีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ประการแรก ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยวิจัยที่มีศักยภาพในระดับโลกจำนวน 7-10 แห่งที่สามารถสนับสนุนเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศและช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ประการที่ 2 เพื่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัย ตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่สามารถนำผลงานไปใช้ในภาคการผลิต ช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชน และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม ทั้งในด้านการส่งเสริม การส่งออกและทดแทนการนำเข้า จากเป้าหมายดังกล่าวได้มีการจัดกลุ่มมหาวิทยาลัยของไทยออกเป็น 4 กลุ่มและมีบทบาท ดังนี้
    การอ้างอิงท้ายบทความ
           ให้เขียนรายการเอกสารอ้างอิงเป็นภาษาอังกฤษ แล้วจัดเรียงลำดับรายการเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความตามลำดับอักษรชื่อสกุลของ ผู้แต่ง หรือชื่อเรื่องในกรณีที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง หากเอกสารที่อ้างอิงไม่ได้เขียนด้วยภาษาอังกฤษ ให้แปลความหมายของชื่อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษ และวงเล็บท้ายชื่อเรื่องของเอกสารนั้นว่าต้นฉบับเป็นภาษาใด เช่น ระบุว่า (in Thai) ดังตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง ดังนี้
           1. หนังสือ
ชื่อสกุลผู้แต่ง, ชื่อย่อ. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.
    Fang, J.R, Stueart, R. D., & Tuamsuk, K., eds. (1995). World Guide to Library,
             Archive and Information Science Education. USA: IFLA Publications 72/73.
             Munich: K.G> Saur.
    Lorsuwannarat, T. (2006). Lorsuwannarat, T. (2006).Learning organization: From the concepts to
              practives
(3d ed). Bangkok: Ratanatri. (in Thai)
           1. บทความวารสาร
ชื่อสกุลผู้แต่ง, ชื่อย่อ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฎบทความในวารสาร.
    Manmart, L. (2000). Current situation of technology management in Schools of Library
              and Information Science in Thailand. Journal of Library and
               InformationScience.18
(3), 1-24. (in Thai).
    Sahapong, S., Manmart, L., Ayuvat, D.,Potisat, S. (2006). A systematic review of the
              roles and competencies of medical information professionals (MIPs) in
              evidence-based medicine. Ramathibodi Medical Journal 29 (1), 119-130.
 
                คู่มือการอ้างอิงและการเขียนรายงานเอกสารอ้างอิง
    (สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง 2563)
 
                            
 
Untitled Document Last updated (7 Jan 2022) Copyright 2020 Desing by Department of Informatics